.:: ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ ::.

 

 

 

 

05540210 Java Programming Language
ภาษาจาวา
สังกัด บริหารธุรกิจ, บริหารธุรกิจ
หน่วยกิต 3 (3-0-3)
  อาจารย์ สมศักดิ์ บุตรสาคร

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

Array

Fdatatype[] arrayRefVar;
ตัวอย่าง :
    double[] myList;
Fdatatype arrayRefVar[]; // This style is allowed, but not preferred
ตัวอย่าง :
    double myList[];
การสร้างตัวแปร Arrays
arrayRefVar = new datatype[arraySize];
Example:
myList = new double[10];
ตัวอย่าง เช่น จากตัวอย่างการสร้างตัวแปรอาเรย์ด้านบน
myList[0] //เป็นการอ้างอิงถึงสมาชิกตัวแรกของตัวแปร array.
myList[9] //เป็นการอ้างอิงถึงสมาชิกตัวสุดท้ายของตัวแปร array.
การประกาศตัวแปรพร้อมการสร้างตัวแปร Array
Fdatatype[] arrayRefVar = new datatype[arraySize];
  double[] myList = new double[10];
Fdatatype arrayRefVar[] = new datatype[arraySize];
double myList[] = new double[10];
การหาขนาดของตัวแปร Array
เมื่อสร้างตัวแปรอาเรย์ขึ้นท่แล้ว, ขนาดของตัวแปรจะคงที่ คือไม่สามารถจะเปลี่ยนแปลงขนาดของตัวแปรในภายหลังได้ วิธีการหาขนาดของตัวแปร ทำได้ดังนี้
arrayRefVar.length
ยกตัวอย่าง เช่น,
myList.length // จากตัวอย่าที่แล้ว returns 10
Indexed Variables
การสมาชิกของตัวแปรอาเรย์เข้าถึงได้โดยใช้ index โดย index ของตัวแปรจะเริ่มจาก 0 ถึง arrayRefVar.length-1. ตามตัวอย่าง Slide 5,  ตัวแปร myList จะมีค่า double จำนวน 10 ค่า และ index เริ่มจาก  0 ถึง 9.
การเข้าถึงในแต่ละสมาชิกตัวแปรอาเรย์ สามารถใช้รูปแบบในการเข้าถึงได้ดังนี้
รูปแบบ :
arrayRefVar[index];
Example
myList[0] references the first element in the array.
myList[9] references the last element in the array.
กำหนดค่าในตัวแปรอาเรย์
double[] myList = {1.9, 2.9, 3.4, 3.5};
สามารถกำหนดค่าในตัวแปรได้อีกแบบหนึงคือ
double[] myList = new double[4];
myList[0] = 1.9;
myList[1] = 2.9;
myList[2] = 3.4;
myList[3] = 3.5;