.:: ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ ::.

 

 

 

 

 

05530381 Software Engineering
  วิศวกรรมซอฟต์แวร์
  สังกัด บริหารธุรกิจ, บริหารธุรกิจ
  หน่วยกิต 3 (3-0-3)
อาจารย์ จันทิมา เอกวงษ์

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

 

 

  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมซอฟต์แวร์
  • การวางแผนพัฒนาซอฟต์แวร์
  • Software Process  Model
  • Activity Planning
  • Software Effort  Estimate  การประมาณการ
  • Risk Management
  • Resource  Allocation การจัดสรรทรัพยากร
  • Monitoring and Control
  • Outsource  
  • การพัฒนาซอฟต์แวร์

 

วัตถุประสงค์ของการ Monitoring and Control

  • ดูความคืบหน้าของงาน 
  • ประเมินความเสี่ยง   เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว้
  • ปรับปรุงแก้ไข Activity  Plan  ให้เสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
สิ่งสำคัญที่จะทำให้เกิดการ  Monitoring 
  • งานเสร็จช้ากว่ากำหนด  (Delays in meeting target dates)
  • คุณภาพลดลง  (Shortfalls in Quality)
  • Function น้อยลง (inadequate functionality)
  • ต้นทุนสูงกว่ากำหนด  (Cost going over target)
จุดที่ต้องมีการ Monitoring
ทั่วไป เช่น Monitoring  ตาม Activity
-  กรณีพิเศษ เช่น Monitor ตามรายงานหรือการส่งมอบ
Taking snap – shots
  • มีการจัดทำรายงานความคืบหน้า  งานที่มีความเสี่ยง
  • รายงานทุกสัปดาห์
  • Review point / Control point
Visualizing  Progress
ประกอบด้วย
  • The Gantt  Chart
  • The Slip Chart
  • The Ball Chart
  • The Timeline  Chart
การควบคุม  โดยทั่วไปมี 2 แบบ 
1.  Time
2.  Cost
Common  method in Software  Project  มี  3 แบบ
  • The 0/100  Technique  งานเริ่มต้นเป็น 0 งานเสร็จเป็น 100  เป็น Project ทั่วไป
  • The  50/50 Technique  งานเริ่มต้นเป็น 50 งานเสร็จเป็น 100 จึงเป็น 50/50 เช่น เรื่อง Security
  • The milestone Technique ดูตาม milestone ที่กำหนด มักใช้กับงานที่ระยะเวลาดำเนินการนาน  แต่ถ้างานใดใช้ระยะเวลานานมาก  ควรแบ่งเป็นงานย่อย ๆ (Task) จะควบคุมง่ายกว่าการใช้ Milestone
การเรียงลำดับความสำคัญของการ  Monitor
  • Critical  Path activities ต้องติดตามดูแลอย่างเข้มงวด
  • Activities  with no free Float ติดตามดูแลอย่างเข้มงวดกับ Activity ที่ Float เป็น 0
  • Activities with less than a specified float ติดตามดูแล activities ที่มี Float น้อย
  • High – risk Activities ติดตามดูแล Activity ที่มีความเสี่ยงสูง
  • Activities  using critical resources ติดตามดูแล Activity ที่ Resource มีปัญหา
(ถ้าลำดับ 1 ไม่มีให้ดูลำดับถัดไป)
กลยุทธ์ที่จะทำให้งานที่ล่าช้ากว่าที่กำหนดเสร็จตามแผนที่วางไว้
1. การทำให้สายงานวิกฤตให้สั้นลง 
◦พิจารณาภาพรวมระยะเวลาทั้ง Project  สายงานวิกฤตใดสามารถปรับให้สั้นลงได้  (ควรระวังในการปรับอาจจะกระทบเส้นอื่นที่ไม่ใช่สายงานวิกฤตอาจทำให้เป็นสายงานวิกฤตแทน)
◦ใช้คนที่มีความเชี่ยวชาญ  ประสบการณ์มาทำ 
◦นำทรัพยากรจากจุดอื่นที่ไม่ใช่สายงานวิกฤตมาช่วย
◦เพิ่มทรัพยากร
2. พิจารณา REQUIREMENT ใหม่ 
การปรับแก้ Requirement ที่ตั้งไว้ตั้งแต่แรก  โดยดูว่าอะไรเป็นปัญหาแล้วปรับแก้เพื่อให้เสร็จทันตามกำหนด  อย่าไปตัดในส่วนที่สำคัญ  ควรตัด Requirement ในส่วนที่ไม่สำคัญซึ่งไม่กระทบกับส่วนอื่นออก  เพื่อให้เสร็จตามกำหนดหรือแตกย่อย  Activity  ให้ทำงานพร้อมกัน  ทั้งนี้ต้องระวังเรื่องคุณภาพเพราะอาจทำให้เกิด ความเสี่ยงได้